menu
search
Login
Join Minds Now
close
home
Newsfeed
Newsfeed
#
Discovery
Discovery
add_to_queue
Minds+
Minds+
Wallet
Wallet
insert_chart
Analytics
Analytics
Traffic
Engagement
Earnings
Trending
more_horiz
Settings
Settings
Hi_Im_Anon
3w ago
32 views
ถึงฟิตเนสจะเปิดมาได้ถึงสัปดาห์นึงเต็มๆแล้ว … แต่น้ำหนักของหลายๆคนก็ยังไม่หยุดเพิ่ม 😅😅😅
thumb_up
11
thumb_down
repeat
3
chat_bubble
Tip
attach_money
More from Hi_Im_Anon
ไหนๆก็เขียนเรื่องยุทโธปกรณ์แล้ว ขอต่ออีกหน่อยเลย นับตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 การจัดสรรงบประมาณทางการทหารมีเป้าหมายในการจัดสรรที่เปลี่ยนไปอย่างชัดเจน ก่อนหน้านั้น งบประมาณทางการทหารมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างกองกำลังทางทหารในเข้มแข็งขึ้น แต่นับตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา งบประมาณทางการทหารถูกจัดสรรเพื่อตอบสนองควาทต้องการด้านอื่นๆควบคู่ไปกับการเสริมสร้างกองกำลังให้เข้มแข็งขึ้น นับตั้งแต่การต่อเรือเดินสมุทรด้วยเหล็ก ซึ่งแต่แรกเรือสินค้ามีแต่เรือสำเภาไม้ แต่เพราะมีการล่าอาณานิคม จึงจำเป็นต้องขนยุทโธปกรณ์ต่างๆบนเรือ ตึงพัฒนาให้เรือสามารถบรรทุกสิ่งของได้มากขึ้น จนปัจจุบัน เทคโนโลยีการต่อเรือด้วยเหลือก็กลายเป็นเทคโนโลยีทั่วไป ไม่ได้เฉพาะในวงการทหาร หรือแม้แต่เทคโนโลยีการพยากรสภาพอากาศ ที่แต่เดิมก็ถูกใช้ในการรบทางทะเลเป็นหลัก จนปัจจุบันเทคโนโลยีนี้ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน อีกสองตัวอย่างสุดท้ายที่เราอยากยกมา คือ เทคโนโลยีอวกาศ ที่เกี่ยวโยงไปถึงเทคโนโลยีด้านการสื่อสารด้วยดาวเทียม อินเตอร์เน็ตที่ใช้ในชีวิตประจำวัน แต่เดิมก็เป็นเทคโนโลยีทางการทหารเท่านั้น และตัวอย่างสุดท้าย คือ เทคโนโลยีนิวเคลียร์ ที่ถูกใช้ครั้งแรกในการโจมตีญี่ปุ่น ซึ่งตอนนี้ก็ถูกใช้ทั้งในการผลิตไฟฟ้า หรือแม้แต่ในการวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ การศึกษาโมเลกุลของเซลล์ ฯลฯ หรืออย่างในปัจจุบัน เทคโนโลยีโดรนไร้คนขับที่ถูกใช้ในการทหารเท่านั้น ในอนาคตก็จะถูกพัฒนาให้เป็นเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน เครื่องบินโดยสารหรือเรือสินค้าที่ควบคุมจากฝั่งเช่นกัน งบประมาณทางการทหารควรถูกใช้ไปเพื่อตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศในระยะยาว จากตัวอย่างต่างๆที่เรายกมา จะเห็นได้ว่า การจัดสรรงบประมาณทางการทหารคือการนำร่วมในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานสำหรับอนาคต ด้วยเหตุที่เทคโนโลยีเหล่านั้นเกี่ยวโยงกับโครงสร้างพื้นฐานในด้านต่างๆ การปล่อยให้เอกชนรายใดรายหนึ่งเป็นเจ้าของเทคโนโลยีนั้นย่อมส่งผลเสียต่อภาพรวมของประเทศในการมีต้นทุนที่สูงขึ้นในการใช้เทคโนโลยีนั้น อีกทั้งยังยุติธรรมกับเอกชนที่ต้องแบกรับต้นทุนไว้เอง ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลจึงนำร่องในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆเองก่อน และเมื่อเห็นถึงการใช้ประโยชน์และการต่อยอดแล้ว จึงผล่อยให้เอกชนได้วิจัยและพัฒนาในรายละเอียดต่อไป นี่เป็นมุมมองที่ไม่ค่อยมีใครพูดถึงนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ที่มีงบประมาณด้านการทหารสูงมาก แต่ไม่ถูกนำไปใช้ในการต่อยอดเทคโนโลยีอย่างที่ควรจะเป็น
#thailand
#mindsth
17 views
·
Feb 4th
เปรียบเทียบกระดาษชำระกับยุทโธปกรณ์? สำหรับเรา เราจำแนกสิ่งของในชีวิตประจำวันออกเป็น 3 กลุ่ม 1. สิ่งของอุปโภคบริโภค(consumable) เช่น อาหาร เครื่องดื่ม ไฟฟ้า ประปา ยาสามัญประจำบ้าน ฯลฯ 2. ทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น รถยนต์ ทีวี โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ 3. ทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น พระเครื่อง ทองคำ ของสะสมต่างๆ ทำไมเราถึงจำแรกทรัพย์สินออกเป็น 3 กลุ่มแบบนั้น เพราะปริมาณการซื้อแตกต่างกัน สินค้ากลุ่ม 1 เป็นสินค้าอุปโภคบริโภค สินค้ากลุ่มนี้ไม่แปรผันตามรายได้ ไม่ว่ารวยหรือจนก็กินอาหารในปริมาณเท่ากัน และไม่ว่าจะใช้หรือไม่ใช้ก็จำเป็นต้องซื้อเผื่อไว้ สินค้ากลุ่ม 2 เป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หรืออาจเรียกได้ว่าทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายจ่าย(หรือทรัพยที่ก่อให้เกิดหนี้สิน) ทรัพย์สินกลุ่มนี้จะถูกซื้อตามฐานะทางเศรษฐกิจ ถ้าฐานะทางเศรษฐกิจดีก็ซื้อเยอะ ถ้าฐานะทางเศรษฐกิจแย่ก็ซื้อน้อยลง สินค้ากลุ่มที่ 3 เป็นทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายได้ ทรัพย์สินกลุ่มนี้ผู้ซื้อไม่ได้ตัดสินใจซื้อเพราะความจำเป็น แต่ตัดสินใจซื้อเพราะความคาดหวังถึงผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ไม่ใช่ผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นทันทีที่ซื้อ ดังนั้นจึงเป็นสินค้ากลุ่มที่ถูกซื้อโดยคนที่มีเงินเหลือแล้วเท่านั้น ย้อนกลับไปที่เรื่องของกระดาษชำระและยุทโธปกรณ์ กระดาษชำระควรถูกจัดเป็นสินค้ากลุ่มแรก คือ ไม่ว่าจะอย่างไรก็ช่างก็ควรซื้อติดบ้านไว้ เพราะ เป็นสินค้าที่ใช้แล้วหมดไป ยุทโธปกรณ์ต่างๆถือเป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ปริมาณการซื้อควรอิงกับฐานะทางเศรษฐกิจ เช่น ถ้ารายได้หลังหักค่าอุปโภคบริโภคแล้วเหลือเยอะถึงซื้อเยอะ ถ้ารายได้หลังหักค่าอุปโภคบริโภคแล้วเหลือน้อยก็ควรซื้อน้อยหรือไม่ซื้อเพิ่ม ความจริงแล้วการเพิ่มงบประมาณทางการทหารก็ถูกใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจในบางประเทศเช่นกัน เพราะงบประมาณด้านการทหารนั้นสามารถจ้างงานได้ไม่น้อยไปกว่าการสนับสนุนด้านการเกษตร แต่ไม่นิยมใช้เพราะไม่ก่อให้เกิดผลต่อระบบเศรษฐกิจในภาพรวมมากเท่ากับการสนับสนุนภาคการเกษตร ที่ส่งผลให้ราคาอาหารในประเทศลดลง ลดค่าครองชีพให้ประชาชนไปในตัว อีกทั้งเป็นการอุดหนุนเกษตรกรที่รายได้จากการเกษตรไม่สูงมากนักไปพร้อมๆกัน คงไม่จำเป็นต้องมีสติปัญญาและความรู้มากเกินมนุษย์ทั่วไปหรอก ถึงจะรู้ว่าในเวลานี้งบประมาณที่เกี่ยวกับยุทโธปกรณ์ควรถูกตัดลด
#thailand
#mindsth
23 views
·
Feb 4th
ความเห็นของเราเรื่อง วินัยและกฎ สำหรับเรา วินัยคือการทำตามกฎ ถ้าคนหนึ่งปฏิบัติตามกฎเสมอ ก็ประเมินได้ว่าคนนั้นมีวินัยมาก ตรงข้าม ถ้าคนหนึ่งปฏิบัติตามกฎน้อยลง ก็ประเมินได้ว่าคนนั้นมีวินัยน้อยตามไปด้วย สำหรับเรา เรามองวินัยเป็น ผล(result) หลายคนมักบอกว่า เพราะคนไทยไร้วินัย คนไทยจึงไม่ปฏิบัติตามกฎ แต่เราคิดตรงกันข้าม เราคิดว่าเพราะกฎระเบียบในสังคมไทยไม่สมเหตุสมผล(nonsense) คนไทยจึงไม่ปฏิบัติตามกฎนั้น ทำไมเราถึงคิดแบบนั้น เพราะกฎที่สมเหตุสมผลมักไม่ถูกละเลย อย่างเช่น การสวมหน้ากากอนามัยในช่วงโควิด คนส่วนใหญ่ปฏิบัติตามค่อนข้างสม่ำเสมอ ตรงข้ามกับกฎที่ไม่สมเหตุสมผล เช่น การห้ามรถจักรยานยนต์ขึ้นสะพานข้ามแยก ทั้งที่ไม่เหตุผลอะไรเลยมารับรองการตั้งกฎนี้ เราจึงเห็นการละเลยการทำตามกฎนี้เป็นประจำ เราคิดว่า ถ้ากฎระเบียบของสังคมหนึ่งมีกฎที่nonsenseมากขึ้น กฎโดยรวมก็จะถูกละเลยมากขึ้น ตรงนี้เราว่าเป็นปัจจัยในภาพรวมด้วย เช่น ในสังคมพระสงฆ์ที่มีกฎยิบย่อยที่มีที่มาจากบทบัญญัติทางศาสนาซึ่งอาจmake senseหรือnonsenseก็ได้นั้น กฎในสังคมนั้นจะถูกละเลยบ่อยกว่าในสังคมที่มีกฎที่nonsenseน้อยกว่า หรืออย่างในสังคมของทหารที่หลายคนมองว่าเป็นสังคมของคนมีวินัย เรามองต่างว่าสังคมทหารเป็นสังคมของคนไร้วินัย ดูอย่างการระบาดของโควิดทั้งสองรอบก็มีทหารเป็นต้นเหตุ รอบแรกจากค่ายมวยของกองทัพ และรอบสองจากการรับสินบนของทหาร และทั้งนี้ทั้งนั้น ในสังคมของทหารเองก็มีระบบชนชั้น การตั้งกฎทั้งหลายจึงตั้งตามความพึงพอใจของชนชั้นที่สูงกว่าที่ปกครองอยู่ จึงสันนิษฐานได้ว่าในสังคมของทหารน่าจะมีกฎที่nonsenseมากกว่าในสังคมทั่วไปมาก ซึ่งก็ตรงตามตรรกะที่เรากำลังนำเสนอ ด้วยเหตุนี้ มุมมองของเราต่อความสัมพันธ์ระหว่างกฎและวินัยจึงต่างออกไป เรามองว่ากฎเป็นเหตุ(cause)และวินัยเป็นผล(result) ดังนั้น ในความเห็นของเรา เราเสนอว่าถ้าอยากให้คนไทยมีวินัยมากขึ้น ปฏิบัติตามกฎ/ระเบียบต่างๆในสังคมอย่างเคร่งครัดมากขึ้น ก็ควรยกเลิกกฎที่ไม่สมเหตุสมผลทิ้งไปให้ได้มากที่สุด
#thailand
#mindsth
13 views
·
Feb 3rd
More from Hi_Im_Anon
ไหนๆก็เขียนเรื่องยุทโธปกรณ์แล้ว ขอต่ออีกหน่อยเลย นับตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 การจัดสรรงบประมาณทางการทหารมีเป้าหมายในการจัดสรรที่เปลี่ยนไปอย่างชัดเจน ก่อนหน้านั้น งบประมาณทางการทหารมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างกองกำลังทางทหารในเข้มแข็งขึ้น แต่นับตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา งบประมาณทางการทหารถูกจัดสรรเพื่อตอบสนองควาทต้องการด้านอื่นๆควบคู่ไปกับการเสริมสร้างกองกำลังให้เข้มแข็งขึ้น นับตั้งแต่การต่อเรือเดินสมุทรด้วยเหล็ก ซึ่งแต่แรกเรือสินค้ามีแต่เรือสำเภาไม้ แต่เพราะมีการล่าอาณานิคม จึงจำเป็นต้องขนยุทโธปกรณ์ต่างๆบนเรือ ตึงพัฒนาให้เรือสามารถบรรทุกสิ่งของได้มากขึ้น จนปัจจุบัน เทคโนโลยีการต่อเรือด้วยเหลือก็กลายเป็นเทคโนโลยีทั่วไป ไม่ได้เฉพาะในวงการทหาร หรือแม้แต่เทคโนโลยีการพยากรสภาพอากาศ ที่แต่เดิมก็ถูกใช้ในการรบทางทะเลเป็นหลัก จนปัจจุบันเทคโนโลยีนี้ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน อีกสองตัวอย่างสุดท้ายที่เราอยากยกมา คือ เทคโนโลยีอวกาศ ที่เกี่ยวโยงไปถึงเทคโนโลยีด้านการสื่อสารด้วยดาวเทียม อินเตอร์เน็ตที่ใช้ในชีวิตประจำวัน แต่เดิมก็เป็นเทคโนโลยีทางการทหารเท่านั้น และตัวอย่างสุดท้าย คือ เทคโนโลยีนิวเคลียร์ ที่ถูกใช้ครั้งแรกในการโจมตีญี่ปุ่น ซึ่งตอนนี้ก็ถูกใช้ทั้งในการผลิตไฟฟ้า หรือแม้แต่ในการวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ การศึกษาโมเลกุลของเซลล์ ฯลฯ หรืออย่างในปัจจุบัน เทคโนโลยีโดรนไร้คนขับที่ถูกใช้ในการทหารเท่านั้น ในอนาคตก็จะถูกพัฒนาให้เป็นเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน เครื่องบินโดยสารหรือเรือสินค้าที่ควบคุมจากฝั่งเช่นกัน งบประมาณทางการทหารควรถูกใช้ไปเพื่อตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศในระยะยาว จากตัวอย่างต่างๆที่เรายกมา จะเห็นได้ว่า การจัดสรรงบประมาณทางการทหารคือการนำร่วมในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานสำหรับอนาคต ด้วยเหตุที่เทคโนโลยีเหล่านั้นเกี่ยวโยงกับโครงสร้างพื้นฐานในด้านต่างๆ การปล่อยให้เอกชนรายใดรายหนึ่งเป็นเจ้าของเทคโนโลยีนั้นย่อมส่งผลเสียต่อภาพรวมของประเทศในการมีต้นทุนที่สูงขึ้นในการใช้เทคโนโลยีนั้น อีกทั้งยังยุติธรรมกับเอกชนที่ต้องแบกรับต้นทุนไว้เอง ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลจึงนำร่องในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆเองก่อน และเมื่อเห็นถึงการใช้ประโยชน์และการต่อยอดแล้ว จึงผล่อยให้เอกชนได้วิจัยและพัฒนาในรายละเอียดต่อไป นี่เป็นมุมมองที่ไม่ค่อยมีใครพูดถึงนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ที่มีงบประมาณด้านการทหารสูงมาก แต่ไม่ถูกนำไปใช้ในการต่อยอดเทคโนโลยีอย่างที่ควรจะเป็น
#thailand
#mindsth
17 views
·
Feb 4th
เปรียบเทียบกระดาษชำระกับยุทโธปกรณ์? สำหรับเรา เราจำแนกสิ่งของในชีวิตประจำวันออกเป็น 3 กลุ่ม 1. สิ่งของอุปโภคบริโภค(consumable) เช่น อาหาร เครื่องดื่ม ไฟฟ้า ประปา ยาสามัญประจำบ้าน ฯลฯ 2. ทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น รถยนต์ ทีวี โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ 3. ทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น พระเครื่อง ทองคำ ของสะสมต่างๆ ทำไมเราถึงจำแรกทรัพย์สินออกเป็น 3 กลุ่มแบบนั้น เพราะปริมาณการซื้อแตกต่างกัน สินค้ากลุ่ม 1 เป็นสินค้าอุปโภคบริโภค สินค้ากลุ่มนี้ไม่แปรผันตามรายได้ ไม่ว่ารวยหรือจนก็กินอาหารในปริมาณเท่ากัน และไม่ว่าจะใช้หรือไม่ใช้ก็จำเป็นต้องซื้อเผื่อไว้ สินค้ากลุ่ม 2 เป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หรืออาจเรียกได้ว่าทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายจ่าย(หรือทรัพยที่ก่อให้เกิดหนี้สิน) ทรัพย์สินกลุ่มนี้จะถูกซื้อตามฐานะทางเศรษฐกิจ ถ้าฐานะทางเศรษฐกิจดีก็ซื้อเยอะ ถ้าฐานะทางเศรษฐกิจแย่ก็ซื้อน้อยลง สินค้ากลุ่มที่ 3 เป็นทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายได้ ทรัพย์สินกลุ่มนี้ผู้ซื้อไม่ได้ตัดสินใจซื้อเพราะความจำเป็น แต่ตัดสินใจซื้อเพราะความคาดหวังถึงผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ไม่ใช่ผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นทันทีที่ซื้อ ดังนั้นจึงเป็นสินค้ากลุ่มที่ถูกซื้อโดยคนที่มีเงินเหลือแล้วเท่านั้น ย้อนกลับไปที่เรื่องของกระดาษชำระและยุทโธปกรณ์ กระดาษชำระควรถูกจัดเป็นสินค้ากลุ่มแรก คือ ไม่ว่าจะอย่างไรก็ช่างก็ควรซื้อติดบ้านไว้ เพราะ เป็นสินค้าที่ใช้แล้วหมดไป ยุทโธปกรณ์ต่างๆถือเป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ปริมาณการซื้อควรอิงกับฐานะทางเศรษฐกิจ เช่น ถ้ารายได้หลังหักค่าอุปโภคบริโภคแล้วเหลือเยอะถึงซื้อเยอะ ถ้ารายได้หลังหักค่าอุปโภคบริโภคแล้วเหลือน้อยก็ควรซื้อน้อยหรือไม่ซื้อเพิ่ม ความจริงแล้วการเพิ่มงบประมาณทางการทหารก็ถูกใช้เป็นนโยบายเศรษฐกิจในบางประเทศเช่นกัน เพราะงบประมาณด้านการทหารนั้นสามารถจ้างงานได้ไม่น้อยไปกว่าการสนับสนุนด้านการเกษตร แต่ไม่นิยมใช้เพราะไม่ก่อให้เกิดผลต่อระบบเศรษฐกิจในภาพรวมมากเท่ากับการสนับสนุนภาคการเกษตร ที่ส่งผลให้ราคาอาหารในประเทศลดลง ลดค่าครองชีพให้ประชาชนไปในตัว อีกทั้งเป็นการอุดหนุนเกษตรกรที่รายได้จากการเกษตรไม่สูงมากนักไปพร้อมๆกัน คงไม่จำเป็นต้องมีสติปัญญาและความรู้มากเกินมนุษย์ทั่วไปหรอก ถึงจะรู้ว่าในเวลานี้งบประมาณที่เกี่ยวกับยุทโธปกรณ์ควรถูกตัดลด
#thailand
#mindsth
23 views
·
Feb 4th
ความเห็นของเราเรื่อง วินัยและกฎ สำหรับเรา วินัยคือการทำตามกฎ ถ้าคนหนึ่งปฏิบัติตามกฎเสมอ ก็ประเมินได้ว่าคนนั้นมีวินัยมาก ตรงข้าม ถ้าคนหนึ่งปฏิบัติตามกฎน้อยลง ก็ประเมินได้ว่าคนนั้นมีวินัยน้อยตามไปด้วย สำหรับเรา เรามองวินัยเป็น ผล(result) หลายคนมักบอกว่า เพราะคนไทยไร้วินัย คนไทยจึงไม่ปฏิบัติตามกฎ แต่เราคิดตรงกันข้าม เราคิดว่าเพราะกฎระเบียบในสังคมไทยไม่สมเหตุสมผล(nonsense) คนไทยจึงไม่ปฏิบัติตามกฎนั้น ทำไมเราถึงคิดแบบนั้น เพราะกฎที่สมเหตุสมผลมักไม่ถูกละเลย อย่างเช่น การสวมหน้ากากอนามัยในช่วงโควิด คนส่วนใหญ่ปฏิบัติตามค่อนข้างสม่ำเสมอ ตรงข้ามกับกฎที่ไม่สมเหตุสมผล เช่น การห้ามรถจักรยานยนต์ขึ้นสะพานข้ามแยก ทั้งที่ไม่เหตุผลอะไรเลยมารับรองการตั้งกฎนี้ เราจึงเห็นการละเลยการทำตามกฎนี้เป็นประจำ เราคิดว่า ถ้ากฎระเบียบของสังคมหนึ่งมีกฎที่nonsenseมากขึ้น กฎโดยรวมก็จะถูกละเลยมากขึ้น ตรงนี้เราว่าเป็นปัจจัยในภาพรวมด้วย เช่น ในสังคมพระสงฆ์ที่มีกฎยิบย่อยที่มีที่มาจากบทบัญญัติทางศาสนาซึ่งอาจmake senseหรือnonsenseก็ได้นั้น กฎในสังคมนั้นจะถูกละเลยบ่อยกว่าในสังคมที่มีกฎที่nonsenseน้อยกว่า หรืออย่างในสังคมของทหารที่หลายคนมองว่าเป็นสังคมของคนมีวินัย เรามองต่างว่าสังคมทหารเป็นสังคมของคนไร้วินัย ดูอย่างการระบาดของโควิดทั้งสองรอบก็มีทหารเป็นต้นเหตุ รอบแรกจากค่ายมวยของกองทัพ และรอบสองจากการรับสินบนของทหาร และทั้งนี้ทั้งนั้น ในสังคมของทหารเองก็มีระบบชนชั้น การตั้งกฎทั้งหลายจึงตั้งตามความพึงพอใจของชนชั้นที่สูงกว่าที่ปกครองอยู่ จึงสันนิษฐานได้ว่าในสังคมของทหารน่าจะมีกฎที่nonsenseมากกว่าในสังคมทั่วไปมาก ซึ่งก็ตรงตามตรรกะที่เรากำลังนำเสนอ ด้วยเหตุนี้ มุมมองของเราต่อความสัมพันธ์ระหว่างกฎและวินัยจึงต่างออกไป เรามองว่ากฎเป็นเหตุ(cause)และวินัยเป็นผล(result) ดังนั้น ในความเห็นของเรา เราเสนอว่าถ้าอยากให้คนไทยมีวินัยมากขึ้น ปฏิบัติตามกฎ/ระเบียบต่างๆในสังคมอย่างเคร่งครัดมากขึ้น ก็ควรยกเลิกกฎที่ไม่สมเหตุสมผลทิ้งไปให้ได้มากที่สุด
#thailand
#mindsth
13 views
·
Feb 3rd
close
Complete your OnChain transaction
Connect Wallet
To earn tokens and access the decentralized web, select an option below
(It's easier than you think)
We are an open source platform for Internet freedom. Get paid in crypto for your contributions to the community.
Login
Register
android
Android App
Maybe later
close